หน่วยที่ 9
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ต
1.เพื่อให้ทราบความหมายของจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ซึ่งเมื่อพิจารณาจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์แล้ว
2.เพื่อให้ทราบคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
ได้กล่าวถึงบัญญัติสิบประการของการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ
การ ทำงานอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ จะทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์จะทำให้สังคมอิน เทอร์เน็ต น่าใช้และเป็นประโยชน์ กิจกรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติจะต้องหลีกเลี่ยง ในการส่งกระจายข่าวลือไปเป็นจำนวนมาบนเครือข่าย การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบลูกโซ่ เป็นต้น ดังนั้นนักเรียนควรปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท หรือ จรรยาบรรณของการรวบรวมเว็บไซด์ต่าง ๆ เอาไว้ เราเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการแล้วเข้าใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่อไปนี้คือ
· การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์ (Chat )
· การใช้กระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด
· การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์ (Chat)
· การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์ (Chat )
· การใช้กระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด
· การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์ (Chat)
บน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการโต้ตอบแบบออนไลน์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Chat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาท อีกอย่างหนึ่งว่า Chat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาทสำคัญดังนี้
· ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วย หรือมีเรื่องสำคัญที่จะติดต่อด้วย
· ควรใช้วาจาสุภาพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน
· ก่อนเรียกสนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาที่ต้องการเรียก เพราะการเรียกแต่ละครั้งจะมีข้อความไปปรากฎบนจอภาพ ของฝ่ายที่ถูกเรียกซึ่งจะทำให้สร้างปัญหาในการทำงานได้
·การใช้บริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด
· ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วย หรือมีเรื่องสำคัญที่จะติดต่อด้วย
· ควรใช้วาจาสุภาพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน
· ก่อนเรียกสนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาที่ต้องการเรียก เพราะการเรียกแต่ละครั้งจะมีข้อความไปปรากฎบนจอภาพ ของฝ่ายที่ถูกเรียกซึ่งจะทำให้สร้างปัญหาในการทำงานได้
·การใช้บริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด
บน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ดให้ผู้ใช้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น หรือข้อมูลข่าวสารถึงกัน ดังนั้นในการใช้ บริการควรเคารพกฎ กติกา มารยาทดังนี้
· ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังการระเมิดหรือสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น
· ไม่ควรนำข้อความที่ผู้อื่นเขียน ไปกระจายต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเข้าของเรื่อง
· ไม่ควรใช้ข้อความขบขัน คำเฉพาะ คำกำกวม และคำหยาบคายในการเขียนข่าว
· ในการเขียนคำถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องเขียนให้ตรงกับกลุ่มและเมื่อจะตอบต้องตอบให้ตรงประเด็น
· ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังการระเมิดหรือสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น
· ไม่ควรนำข้อความที่ผู้อื่นเขียน ไปกระจายต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเข้าของเรื่อง
· ไม่ควรใช้ข้อความขบขัน คำเฉพาะ คำกำกวม และคำหยาบคายในการเขียนข่าว
· ในการเขียนคำถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องเขียนให้ตรงกับกลุ่มและเมื่อจะตอบต้องตอบให้ตรงประเด็น
จริยธรรมในการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
1. ไม่โฆษณาหรือเสนอขายสินค้า
2. รู้ตัวว่ากำลังกล่าวอะไร
3. ถ้าไม่เห็นด้วยกับหลักพื้นฐานของรายชื่อกลุ่มที่ตนเป็นสมาชิก ก็ควรออกจากกลุ่มไม่ควรโต้แย้ง
4. คิดก่อนเขียน
5. อย่าใช้อารมณ์
6. พยายามอ่านคำถามที่ถามบรอย (FAQ) ก่อนเสมอ
7. ไม่ส่งข่าวสารที่กล่าวร้าย หลอกลวง หยาบคาย ข่มขู่
8. ไม่ส่งต่อจดหมายลูกโซ่ หรือเมล์ขยะ
9. ถ้าสงสัยไม่ทำดีกว่า
10. รู้ไว้ด้วยว่าสำหรับผู้เขียน คือ บันทึกฉันท์เพื่อน แต่สำหรับผู้รับ คือ ข้อความที่จารึกไว้บนศิลาจารึก
11. ให้ความระมัดระวังกับคำเสียดสี และอารมณ์ขัน
12. อ่านข้อความในอีเมล์ ให้ละเอียดก่อนส่ง ความประณีตและตัวสะกด การันต์ เป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึง
13. ดูรายชื่อผู้รับให้ดีว่า เขาคือคนที่เราตั้งใจจะส่งไปถึง
3.เพื่อให้ทราบอินเทอร์เน็ตกับผลกระทบต่อสังคมไทย
ผลกระทบในการใช้อินเตอร์เน็ตทางบวกและทางลบ
-พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอน (Computer-Assisted Instruction : CAI) และการ เรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ ( Computer-Assisted Learning : CAL ) ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในในบทเรียนมากยิ่งขึ้น ไม่ซ้ำซากจำเจผู้เรียนสามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ด้วย นอกจากนั้นยังมีบทบาท ต่อการนำมาใช้ในการสอนทางไกล (Distance Learning) เพื่อผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาได้อีกด้วย
-การทำงานเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น กล่าวคือช่วยลดเวลาในการทำงานให้น้อยลง แต่ได้ผลผลิตมากขึ้น เช่น การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยคิดบัญชี การสร้างกราฟ แผนภูมิ ออกแบบงานลักษณะต่างๆ เป็นต้น
-ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการบริโภคสินค้าที่หลากหลายและมีคุณภาพดีขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความแปลกใหม่และหลากหลายมากยิ่งขึ้น ผู้ผลิตผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อได้ตามต้องการ และช่องทางทางการค้าก็มีให้เลือกมากขึ้น เช่น การเลือกซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ตและการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
- ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วในระบบเครือข่ายมีผลก่อให้เกิดโลกไร้พรมแดน แต่เมื่อพิจารณาศีลธรรมของแต่ละประเทศพบว่ามีความแตกต่างกัน ประเทศต่างๆ ผู้คนอยู่ร่วมกันได้ด้วยจารีตประเพณี และศีลธรรมดีงามของประเทศนั้นๆ การแพร่ภาพหรือข้อมูลข่าวสารที่ไม่ดีไปยังประเทศต่างๆ มีผลกระทบต่อความรู้สึกของคนในประเทศนั้นๆ ที่นับถือศาสนาแตกต่างกัน
ผลกระทบด้านบวก
-เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร การบริการและการผลิต ชีวิตคนในสังคมได้รับความสะดวกสบาย เช่น การติดต่อผ่านธนาคารด้วยระบบธนาคารที่บ้าน (Home Banking) การทำงานที่บ้าน ติดต่อสื่อสารด้วยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การบันเทิงพักผ่อนด้วยระบบมัลติมีเดีย เป็นต้น
-เป็นสังคมโลกแห่งการสื่อสารเกิดขึ้น โดยสามารถเอาชนะเรื่องระยะทาง เวลา และสถานที่ได้ ด้วยความเร็วในการติดต่อสื่อสารที่เป็นเครือข่ายความเร็วสูง และที่เป็นเครือข่าย แบบไร้สาย ทำให้มนุษย์สามารถติดต่อถึงกันอย่างรวดเร็ว
-มีระบบผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ในฐานข้อมูลความรู้ เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านที่เกี่ยวกับ สาธารณสุขและการแพทย์ แพทย์ที่อยู่ในชนบทก็สามารถวินิจฉัยโรคจากฐานข้อมูลความรู้ของ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางการแพทย์ ในสถาบันการแพทย์ที่มีชื่อเสียงได้ทั่วโลก หรือใช้วิธีปรึกษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในระบบทางไกลได้ด้วย
-เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างโอกาสให้คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาสจากการพิการทางร่างกาย เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ช่วยเหลือคนพิการ ให้สามารถพัฒนาทักษะและความรู้ได้ เพื่อให้คน พิการเหล่านั้นสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ผู้พิการจึงไม่ถูกทอดทิ้งให้เป็นภาระของสังคม
-เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร การบริการและการผลิต ชีวิตคนในสังคมได้รับความสะดวกสบาย เช่น การติดต่อผ่านธนาคารด้วยระบบธนาคารที่บ้าน (Home Banking) การทำงานที่บ้าน ติดต่อสื่อสารด้วยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การบันเทิงพักผ่อนด้วยระบบมัลติมีเดีย เป็นต้น
-เป็นสังคมโลกแห่งการสื่อสารเกิดขึ้น โดยสามารถเอาชนะเรื่องระยะทาง เวลา และสถานที่ได้ ด้วยความเร็วในการติดต่อสื่อสารที่เป็นเครือข่ายความเร็วสูง และที่เป็นเครือข่าย แบบไร้สาย ทำให้มนุษย์สามารถติดต่อถึงกันอย่างรวดเร็ว
-มีระบบผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ในฐานข้อมูลความรู้ เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านที่เกี่ยวกับ สาธารณสุขและการแพทย์ แพทย์ที่อยู่ในชนบทก็สามารถวินิจฉัยโรคจากฐานข้อมูลความรู้ของ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางการแพทย์ ในสถาบันการแพทย์ที่มีชื่อเสียงได้ทั่วโลก หรือใช้วิธีปรึกษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในระบบทางไกลได้ด้วย
-เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างโอกาสให้คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาสจากการพิการทางร่างกาย เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ช่วยเหลือคนพิการ ให้สามารถพัฒนาทักษะและความรู้ได้ เพื่อให้คน พิการเหล่านั้นสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ผู้พิการจึงไม่ถูกทอดทิ้งให้เป็นภาระของสังคม
รูปแสดงสื่อการเรียนรู้สำหรับคนพิการหรือผู้ด้อยโอกาส
-พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอน (Computer-Assisted Instruction : CAI) และการ เรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ ( Computer-Assisted Learning : CAL ) ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในในบทเรียนมากยิ่งขึ้น ไม่ซ้ำซากจำเจผู้เรียนสามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ด้วย นอกจากนั้นยังมีบทบาท ต่อการนำมาใช้ในการสอนทางไกล (Distance Learning) เพื่อผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาได้อีกด้วย
-การทำงานเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น กล่าวคือช่วยลดเวลาในการทำงานให้น้อยลง แต่ได้ผลผลิตมากขึ้น เช่น การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยคิดบัญชี การสร้างกราฟ แผนภูมิ ออกแบบงานลักษณะต่างๆ เป็นต้น
-ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการบริโภคสินค้าที่หลากหลายและมีคุณภาพดีขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความแปลกใหม่และหลากหลายมากยิ่งขึ้น ผู้ผลิตผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อได้ตามต้องการ และช่องทางทางการค้าก็มีให้เลือกมากขึ้น เช่น การเลือกซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ตและการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ผลกระทบด้านลบ
-ก่อให้เกิดความเครียดในสังคมมากขึ้น เนื่องจากมนุษย์ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง เคยทำอะไรแบบใดมัก
จะชอบทำอย่างนั้นไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปเปลี่ยนแปลง บุคคลที่รับต่อการเปลี่ยนแปลงไม่ได้จึงเกิดความวิตกกังกล จนกลายเป็นความเครียด กลัวว่า คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศจะทำให้ คนตกงาน เพราะสิ่งเหล่านี้จะเข้ามาทดแทนมนุษย์
-ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรม หรือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนในสังคมโลกทำให้ พฤติกรรมที่แสดงออก ด้านการแต่งกาย และการบริโภคเปลี่ยนแปลงไป การมอมเมาเยาวชน ในรูปของเกมส์อิเล็กทรอนิกส์ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาอารมณ์และจิตใจของเยาวชน เกิดการกลืนวัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ของสังคมนั้นๆ
-ก่อให้เกิดความเครียดในสังคมมากขึ้น เนื่องจากมนุษย์ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง เคยทำอะไรแบบใดมัก
จะชอบทำอย่างนั้นไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปเปลี่ยนแปลง บุคคลที่รับต่อการเปลี่ยนแปลงไม่ได้จึงเกิดความวิตกกังกล จนกลายเป็นความเครียด กลัวว่า คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศจะทำให้ คนตกงาน เพราะสิ่งเหล่านี้จะเข้ามาทดแทนมนุษย์
-ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรม หรือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนในสังคมโลกทำให้ พฤติกรรมที่แสดงออก ด้านการแต่งกาย และการบริโภคเปลี่ยนแปลงไป การมอมเมาเยาวชน ในรูปของเกมส์อิเล็กทรอนิกส์ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาอารมณ์และจิตใจของเยาวชน เกิดการกลืนวัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ของสังคมนั้นๆ
ภาพการมอมเมาเยาวชน ในรูปของเกมส์อิเล็กทรอนิกส์
- ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วในระบบเครือข่ายมีผลก่อให้เกิดโลกไร้พรมแดน แต่เมื่อพิจารณาศีลธรรมของแต่ละประเทศพบว่ามีความแตกต่างกัน ประเทศต่างๆ ผู้คนอยู่ร่วมกันได้ด้วยจารีตประเพณี และศีลธรรมดีงามของประเทศนั้นๆ การแพร่ภาพหรือข้อมูลข่าวสารที่ไม่ดีไปยังประเทศต่างๆ มีผลกระทบต่อความรู้สึกของคนในประเทศนั้นๆ ที่นับถือศาสนาแตกต่างกัน
-การมีส่วนร่วมของคนในสังคมลดน้อยลง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็วในการสื่อสาร และการทำงาน แต่ในอีกด้านหนึ่งการมีส่วนร่วมของกิจกรรมทาง สังคมที่มีการพบปะสังสรรค์กันจะมีน้อยลง ผู้คนมักอยู่แต่ที่บ้านหรือที่ทำงานของตนเองมากขึ้น
-การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลโดยการเผยแพร่ข้อมูลหรือรูปภาพต่อสาธารณชน ซึ่งข้อมูลบางอย่างอาจไม่เป็นจริงหรือยังไม่ได้พิสูจน์ความถูกต้องออกสู่สาธารณชน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลโดยไม่สามารถป้องกันตนเองได้ การละเมิดสิทธิส่วน บุคคล เช่นนี้ต้องมีกฎหมายออกมาให้ความคุ้มครองเพื่อให้นำข้อมูลต่างๆ มาใช้ในทางที่ถูกต้อง
-เกิดช่องว่างทางสังคม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับการลงทุน ผู้ใช้จึงเป็นชนชั้นในอีกระดับหนึ่งของสังคม ในขณะที่ชนชั้นระดับรองลงมามีอยู่จำนวนมากกลับไม่มี โอกาสใช้ และผู้ที่ยากจนก็ไม่มีโอกาสรู้จักกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
-อาชญากรรมบนเครือข่าย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดปัญหาใหม่ๆ ขึ้น เช่น ปัญหาอาชญากรรม ตัวอย่างเช่น อาชญากรรมในรูปของการขโมยความลับ การขโมย ข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการ สารสนเทศที่มีการหลอกลวง รวมถึงการบ่อนทำลายข้อมูลและไวรัส
-ก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ นับตั้งแต่คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการทำงาน การศึกษา บันเทิง ฯลฯ การจ้องมองคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ มีผลเสียต่อสายตาซึ่งทำให้สายตา ผิดปกติ มีอาการแสบตา เวียนศีรษะ นอกจากนั้นยังมีผลต่อสุขภาพจิต เกิดโรคทางจิตประสาท
-การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลโดยการเผยแพร่ข้อมูลหรือรูปภาพต่อสาธารณชน ซึ่งข้อมูลบางอย่างอาจไม่เป็นจริงหรือยังไม่ได้พิสูจน์ความถูกต้องออกสู่สาธารณชน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลโดยไม่สามารถป้องกันตนเองได้ การละเมิดสิทธิส่วน บุคคล เช่นนี้ต้องมีกฎหมายออกมาให้ความคุ้มครองเพื่อให้นำข้อมูลต่างๆ มาใช้ในทางที่ถูกต้อง
-เกิดช่องว่างทางสังคม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับการลงทุน ผู้ใช้จึงเป็นชนชั้นในอีกระดับหนึ่งของสังคม ในขณะที่ชนชั้นระดับรองลงมามีอยู่จำนวนมากกลับไม่มี โอกาสใช้ และผู้ที่ยากจนก็ไม่มีโอกาสรู้จักกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
-อาชญากรรมบนเครือข่าย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดปัญหาใหม่ๆ ขึ้น เช่น ปัญหาอาชญากรรม ตัวอย่างเช่น อาชญากรรมในรูปของการขโมยความลับ การขโมย ข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการ สารสนเทศที่มีการหลอกลวง รวมถึงการบ่อนทำลายข้อมูลและไวรัส
-ก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ นับตั้งแต่คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการทำงาน การศึกษา บันเทิง ฯลฯ การจ้องมองคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ มีผลเสียต่อสายตาซึ่งทำให้สายตา ผิดปกติ มีอาการแสบตา เวียนศีรษะ นอกจากนั้นยังมีผลต่อสุขภาพจิต เกิดโรคทางจิตประสาท
4.เพื่อให้ทราบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ต
กฎหมายเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
กฎหมาย คือ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ กติกาของสังคมที่กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้บังคับ ควบคุม
ความประพฤติของบุคคลในสังคม ให้ปฏิบัติตาม หากมีการฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามจะมีความผิดและได้รับโทษตามที่กำหนด
ความประพฤติของบุคคลในสังคม ให้ปฏิบัติตาม หากมีการฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามจะมีความผิดและได้รับโทษตามที่กำหนด
ไว้
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คำเต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คำเต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต
กฎหมายเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความสำคัญต่อการติดต่อสื่อสารทั้งในส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจหรือรวมทั้งการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันทุกองค์การต้องมีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนั้นต้องมีการควบคุมดูแลผลประโยชน์ของผู้ที่นำข้อมูลมานำเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของข้อมูล จากการประชุมคณะรัฐมนตรี ทางคณะรัฐมนตรีได้มีนโยบายทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการปฏิรูปกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ( National Information Technology Committee : NITC ) เป็นผู้รับผิดชอบกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology Law ) จำเป็นต้องมีการตรากฎหมายขึ้นบังคับทั้งหมด 6 ฉบับ ได้แก่
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กล่าวถึงความรับผิดชอบเกี่ยวกับผลทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อมูลนั้นต้องเป็นข้อมูลที่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาอย่างเชื่อถือได้
กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ และลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่างๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดทำขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดทำขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทั้ง การลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
เป็นการคุ้มครองเพื่อมิให้เกิดการกระทำที่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน เสียหายจากการนำความรู้ทางคอมพิวเตอร์ไปใช้ในทางที่ผิด จำแนกเป็น ขโมยข้อมูลมาเปลี่ยนแปลง ทำลายข้อมูล ทำให้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นเสียหาย การเจาะรหัสผ่านเข้าไปในระบบ การเผยแพร่ภาพลามกอานาจาร ขโมยโอนเงิน คัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในทางที่ผิด การข่มขู่ผ่านทางคอมพิวเตอร์ สร้างสิ่งรบกวนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อกำหนดกลไกสำคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน และระบบการชำระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบการทำธุรกรรมทางการเงินและการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผลเปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจำนวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนำข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ
กฎหมายลำดับรองของรัฐธรรมนูญ มาตรา 78
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ ทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสำคัญอื่นๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาสังคมและชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สำคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกสำคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้ำของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนำไปสู่สังคมแห่งปัญญาและการเรียนรู้
เมื่อมีการศึกษาเกี่ยวกับ “กฎหมายเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต” สิ่งที่จะต้องศึกษาควบคู่กันไปคือ “กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์” เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ใช้ในการ เข้าสู่ระบบการใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด จึงควรศึกษากฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่ถูกต้อง
การพัฒนาพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 นั้นเริ่มต้นขึ้นมาตั้งแต่ปี 2541 โดยในระหว่างขั้นตอนการร่าวงกฎหมาย ได้มีการจัดสัมมนาเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาโดยตลอด
การบังคับใช้กฎหมายให้สัมฤทธิ์ผล จำเป็นต้องกำหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนมีหน้าที่ในการเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นพยานหลักฐานที่สำคัญที่สามารถสืบไปถึงตัวผู้กระทำความผิดได้
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 18 ก.ค. 2550 เป็นต้นมาจนถึงทุกวันนี้
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
1.ฐานความผิด
การกระทำความผิดสำหรับมาตร 5 ถึง 13 นั้น เป็นการกระทำที่กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นการกระทำความผิดต่อ
q การรักษาความลับ (Confidentiality)
q ความครบถ้วนและถูกต้อง (Integrity)
q ความพร้อมใช้งาน (Availability)
ซึ่งความผิดในหมวด 1 เป็นความผิดที่ไม่สามารถยอมความได้ เนื่องจากผลของการกระทำความผิด หรือก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นนั้น อาจไม่เพียงกระทบต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น แต่อาจจะกระทบต่อสังคม หรือก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในวงกว้าง รวมทั้งหาตัวผู้กระทำผิดได้ยก ยกเว้นมาตร 16 ซึ่งเป็นความผิดที่กระทบเพียงบุคคลเดียว คู่คดีสามารถไกล่เกลี่ยกันได้
ฐานความผิดตามาตราต่างๆในหมวด 1 มีดังนี้
q มาตรา 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมสปายแวร์ (Spyware) ขโมยข้อมูลรหัสผ่านส่วนบุคคลของผู้อื่น เพื่อใช้บุกรุกเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้นั้นผ่านช่องโหว่ของระบบดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต
q มาตรา 6 การล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง และนำไปเปิดเผยโดยมิชอบ
การล่วงรู้มาตรการความปลอดภัยการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม Keystroke แอบบันทึกการกดรหัสผ่านของผู้อื่น แล้วนำไปโพสไว้ในเว็บบอร์ดต่างๆเพื่อให้บุคคลที่สามใช้เป็นรหัสผ่านเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้เป็นเหยื่อ
q มาตรา 7 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ เช่น การกระทำใดๆตามที่กล่าวไว้ข้างต้นเพื่อเข้าถึงแฟ้มข้อมูล(File) ที่เป็นความลับโดยไม่ได้รับอนุญาต
q มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ คือ การดักรับข้อมูลของผู้อื่นในระหว่างการส่ง เช่น การใช้สนิฟเฟอร์(Sniffer) แอบดักแพ็กเก็ต(Packet) ซึ่งเป็นชุดข้อมูลที่เล็กที่สุดที่อยู่
ระหว่างการส่งไปให้ผู้รับ
q มาตรา 9 และ 10 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
การรบกวนข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมไวรัสเพื่อส่งอีเมล์(E-mail) จำนวนมหาศาลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้อื่น เพื่อทำให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
q มาตรา 11 การสแปมเมล์
เป็นมาตราที่เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อให้ครอบคลุมถึงการส่งสแปม ซึ่งเป็นลักษณะการกระทำความผิดที่ใกล้เคียงกับมาตรา 10 และยังเป็นวิธีกระทำความผิดโดยการใช้โปรแกรมหรือชุดคำสั่งส่งไปให้เหยื่อจำนวนมาก โดยปกปิดแหล่งที่มา เช่น IP Address ส่งผลกระทบ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบคอมพิวเตอร์ของเหยื่อ
q มาตรา 12 การกระทำความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนหรือกระ-กระต่อความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ และการบริการสาธารณะ ส่วนใหญ่จะเป็นการเจาะเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์และแอบเพิ่มเติม หรือทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณูปโภคหรือระบบการเงินของประเทศ ซึ่งเป็นที่มาของการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร(Information Warfare)
q มาตรา 13 การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด
การเผยแพร่ชุดคำสั่งชั่วร้ายที่ใช้ในการกระทำความผิดตามมาตราต่างๆก่อนหน้านี้
q มาตรา 14 และ 15 การปลอมแปลงคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม และการรับผิดของผู้ให้บริการ
สองมาตรานี้เป็นลักษณะที่เกิดจากการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นเท็จ หรือมีเนื้อหาไม่เหมาะสมในรูปแบบต่างๆ โดยในมาตรา 14 ได้กำหนดให้ครอบคลุมถึงการปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือสร้างข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นเท็จ หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลลามกอนาจาร และการฟอร์เวิร์ด(Foward)หรือส่งต่อข้อมูลดังกล่าวอีกด้วย
ในมาตรา 15 ได้มีการกำหนดโทษของผู้ให้บริการที่สนับสนุน หรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา 14 ต้องรับโทษด้วยหากไม่ได้ระงับการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว
q มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อหรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่นหรืออับอาย
เป็นการกำหนดฐานความผิดในเรื่องของการตัดต่อภาพของบุคคลอื่นที่อาจจะทำให้ผู้เสียหายเสียชื่อเสียง ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย โดยความผิดในมาตรานี้เป็นความผิดที่มีความใกล้เคียงกับความผิดฐานหมิ่นประมาทในประมวลกฎหมายอาญา แต่มีการแพร่กระจายความเสียหายลักษณะดังกล่าวทางคอมพิว- เตอร์หรืออินเทอร์เน็ตนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็วและขยายวงกว้างมากกว่า
q มาตรา 17 การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้องรับโทษในราชอาณาจักร
เป็นการนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ เนื่องจากมีความกังวลว่า หากมีความกระทำความผิดนอกประเทศแต่ความเสียหายเกิดขึ้นภายในประเทศแล้วจะนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษได้อย่างไร จึงต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจนในพระราชบัญญัติฯฉบับนี้ด้วย
1.อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
การกำหนดเกี่ยวกับอำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ได้กำหนดไว้ตั้งแต่มาตรา 18 ถึง 30 ดังนี้
q มาตรา 18 อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรานี้ได้ให้อำนาจหน้าที่แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ไว้อย่างเต็มที่ เพื่อให้การสืบสวน สอบสวนทำได้อย่างเต็มที่ เช่น อำนาจในการค้นหรือเข้ายึด หรือตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ที่ต้องสงสัยว่ามีการนำมาใช้กระทำความผิด การถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือการเรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
q มาตรา 19 การตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
เป็นการกำหนดให้มีการตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น
ü การกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ระบุเหตุอันควรเชื่อว่า ทำไมจึงต้องใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติฯ
ü ลักษณะการกระทำความผิด รายละเอียดของอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทำความผิดเท่าที่จะทำได้
ü การยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์ ต้องยื่นคำร้องต่อศาลที่มีอำนาจและจะทำได้ไม่เกิด 30 วัน โดยอาจขอขยายระยะเวลาดังกล่าวต่อศาลได้อีกไม่เกิน 60 วัน
ü เมื่อหมดความจำเป็นหรือหมดเวลาก็ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดมาทันที
ü มาตรา 20 การให้อำนาจในการบล็อกเว็บไซต์
การกระทำที่เข้าข่ายว่าเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติฯที่อาจกระทบต่อความมั่นคง หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมจะกระทบต่อความรู้สึกของคนในสังคมเป็นอย่างมาก ซึ่งการจัดการกับปัญหาดังกล่าวจะต้องกระทำด้วยความรวดเร็ว
แต่การบล็อกเว็บไซต์นั้นอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจของผู้ให้บริการ จึงอาจทำให้เกิดเหตุการณ์ฟ้องร้องพนักงานเจ้าหน้าที่กลับได้ ดังนั้นพระราชบัญญัติจึงกำหนดให้รัฐมนตรีรักษาการมีบทบาทในการกลั่นกรองดุลยพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนที่จะดำเนินการยื่นขอบล็อกเว็บไซต์จากศาล
q มาตรา 21 การห้ามจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์
ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ (Malicious Code) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมชั่วร้ายทั้งหลายที่สร้างขึ้นมาเพื่อกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติฯในรูปแบบต่างๆ เช่น ไวรัส เวิร์ม สปายแวร์ โทรจันฮอร์ส เป็นต้น
ปัจจุบันมีผู้ใช้โปรแกรมชั่วร้ายดังกล่าวเพื่อก่อกวนและทำลายระบบคอมพิวเตอร์บ่อยครั้ง มาตรานี้ จึงให้อำนาจแกพนักงานเจ้าหน้าที่ในการห้ามจำหน่ายหรือเผยแพร่โปรแกรมเหล่านั้น รวมถึงการระงับการใช้ ให้ทำลาย หรือแก้ไขชุดคำสั่งดังกล่าวได้ด้วย นอกจากนั้นยังสามารถกำหนดเงื่อนไขในการใช้การครอบครอง และการเผยแพร่โปรแกรมได้อีกด้วย
q มาตรา 22 ถึง 24 การรักษาความลับของพยานหลักฐาน
แม้จะมีกลไกลการตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ระบุไว้ในมาตรา 18 และ 19 แล้วก็ตาม แต่เพื่อเป็นการรักษาความลับของพยานหลักฐานที่ได้มาจากการสืบสวนสอบสวนที่จำเป็นต่อการดำเนินคดี ไม่ให้ไปเปิดเผยหรือส่งมอบให้บุคคลอื่น เพื่อป้องกันการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ในทางที่ผิด ดังนั้นมาตรา 22 จึงได้กำหนดห้ามไม่ให้เปิดเผยพยานหลักฐาน แต่ก็มีขอยกเว้นว่า หากมี การยื่นขออนุญาตจากศาล ก็สามารถเปิดเผยได้
มาตรา 23 ได้กำหนดบทลงโทษพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้ด้วยในกรณีที่ประมาทจนเป็นเหตุที่ทำให้พยานหลักฐานรั่วไหลให้ผู้อื่นรู้ข้อมูล
มาตรา 24 เป็นการกำหนดบทลงโทษของผู้ที่รู้ข้อมูลจากพนักงานเจ้าหน้าที่
q มาตรา 25 ห้ามมิให้ฟังพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ
มาตรานี้จะเป็นการกำหนดให้ข้อมูลที่ได้จากคอมพิวเตอร์หรือไฟล์ต่างๆสามารถนำมาให้เป็นพยานหลักฐานได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการปฏิเสธในการนำเอาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์มาเป็นพยานหลักฐาน
นอกจากนี้ยังได้กำหนดให้พยานหลักฐานที่ได้มาโดยทุจริต ไม่สามารถนำมาใช้เป็นพยานหลักฐานได้อีกด้วย
q มาตรา 26 ถึง 27 หน้าที่ของผู้ให้บริการในการเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ และความรับผิด หากไม่ปฏิบัติตามหน้าที่
ข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ ถือว่าเป็นพยานหลักฐานชิ้นสำคัญในการพิจารณาคดี ดังนั้นมาตรานี้ จึงได้กำหนดให้ผู้บริการปะเภทใดปะเภทใดบ้างที่มีหน้า ที่ต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บอย่างไร และให้จัดเก็บไว้ ตั้งแต่เมื่อใด
พระราชบัญญัติฯกำหนดให้รัฐมนตรีกระทรวงไอซีทีเป็นผู้จัดทำประกาศ โดยกำหนดให้ทำการจัดเก็บข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ไว้เป็นเวลา 90 วัน เพื่อให้เพียงพอต่อการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการสืบสวนสอบสวนต่อไป และอาจร้องขอต่อศาลให้ขยายระยะเวลาในการจัดเก็บได้ไม่เกิน 1 ปี
q มาตรา 28 การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
เพื่อให้การสืบสวนสอบสวนคดีที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สามารถทำได้อย่างถูกต้อง พนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะได้รับการแต่ตั้งอาจประกอบด้วย
ü วิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์
ü นักกฎหมายที่มีความรู้ความเข้าใจในการบังคับใช้กฎหมาย
ü พนักงานสอบสวนจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ü เจ้าหน้าที่จากกรมสอบสวนคดีพิเศษ
ü บุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ทางระบบคอมพิวเตอร์
มาตรานี้กำหนดให้รัฐมนตรีกระทรวงไอซีทีสามารถออกประกาศเกี่ยวกับกำหนดคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่เพิ่มเติม เพื่อให้ได้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติฯได้เป็นอย่างดี
q มาตรา 29 การรับคำร้องทุกข์กล่าวโทษ จับ ควบคุม และกำหนดระเบียบ แนวทางและการวิธีปฏิบัติ และมาตรา 30 การแสดงบัตรประจำตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 29 เป็นการกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการจับกุม ควบคุม สอบสวน การทำสำนวน และการดำเนินคดี โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานร่วมกับพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในการดำเนินคดี เพื่อให้การดำเนินคดีเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ส่วนมาตรา 30 เป็นการกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องมีการแสดงบัตรประจำตัวทุกครั้งที่ปฏิบัติหน้าที่
5.เพื่อให้ทราบพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
พระราชบัญญัติ ลขิสิทธิ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนัที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดงัต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินเี้รียกว่า “พระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกจิจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๘/๑ แห่งพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๒๘/๑ การทําซ้ําโดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้งเสียงและภาพจากภาพยนตร์ อนัมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ในโรงภาพยนตร์ตามกฎหมายว่าด้วยภาพยนตร์และวีดิทศัน์ ไม่วา่ทั้งหมด หรือแต่บางส่วน โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๕) ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ ให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และมิให้นาํมาตรา ๓๒ วรรคสอง (๒) มาใช้บงัคับ” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๙) ของวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
หน้า ๑๕ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ “(๙) ทําซ้ํา หรือดัดแปลง เพื่อประโยชน์ของคนพิการที่ไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ อันเนื่องมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่น ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง โดยต้องไม่เป็นการกระทําเพื่อหากําไร ทั้งนี้ รูปแบบของการทําซ้ําหรือดัดแปลง ตามความจําเป็นของคนพิการและองค์กรผู้จัดทํารวมทั้งหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพื่อทําซ้ํา หรือดัดแปลงให้เปน็ไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา” มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๖๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๖๙/๑ ผู้ใดกระทําการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา ๒๘/๑ ต้องระวางโทษจําคุก ตั้งแต่หกเดือนถงึสี่ปี หรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนัทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
หน้า ๑๖ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปัจจุบันมีปัญหาการทําซ้ํา โดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้งเสียงและภาพจากภาพยนตร์ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ทั้งภาพยนตร์ไทย และภาพยนตร์ตา่งประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต แล้วนําไปทําซ้ําในสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นซีดี หรือแผ่นดีวีดี เป็นต้น ออกจําหน่าย สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นการขัดต่อการแสวงหาประโยชนจ์ากงานอันมีลขิสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์หรือผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิ และอาศัยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน โดยอ้างว่าเป็นการทําซ้ําเพื่อประโยชน์ ของตนเอง จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยกําหนดให้การกระทําละเมิดลิขสิทธิ์ ในลักษณะดังกล่าวเป็นความผิดเฉพาะ และมีอัตราโทษเช่นเดียวกับการกระทําละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อการค้า นอกจากนี้ สมควรกําหนดข้อยกเว้นการละเมดิลิขสิทธิ์เพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ของคนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการได้ยิน คนพิการทางสติปัญญา และคนพิการประเภทอื่นที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาที่จะสามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ได้ ตามความจําเป็น จงึจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
5.เพื่อให้ทราบพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
พระราชบัญญัติ ลขิสิทธิ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนัที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดงัต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินเี้รียกว่า “พระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกจิจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๘/๑ แห่งพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๒๘/๑ การทําซ้ําโดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้งเสียงและภาพจากภาพยนตร์ อนัมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ในโรงภาพยนตร์ตามกฎหมายว่าด้วยภาพยนตร์และวีดิทศัน์ ไม่วา่ทั้งหมด หรือแต่บางส่วน โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๕) ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ ให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และมิให้นาํมาตรา ๓๒ วรรคสอง (๒) มาใช้บงัคับ” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๙) ของวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
หน้า ๑๕ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ “(๙) ทําซ้ํา หรือดัดแปลง เพื่อประโยชน์ของคนพิการที่ไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ อันเนื่องมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่น ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง โดยต้องไม่เป็นการกระทําเพื่อหากําไร ทั้งนี้ รูปแบบของการทําซ้ําหรือดัดแปลง ตามความจําเป็นของคนพิการและองค์กรผู้จัดทํารวมทั้งหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพื่อทําซ้ํา หรือดัดแปลงให้เปน็ไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา” มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๖๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๖๙/๑ ผู้ใดกระทําการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา ๒๘/๑ ต้องระวางโทษจําคุก ตั้งแต่หกเดือนถงึสี่ปี หรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนัทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
หน้า ๑๖ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปัจจุบันมีปัญหาการทําซ้ํา โดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้งเสียงและภาพจากภาพยนตร์ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ทั้งภาพยนตร์ไทย และภาพยนตร์ตา่งประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต แล้วนําไปทําซ้ําในสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นซีดี หรือแผ่นดีวีดี เป็นต้น ออกจําหน่าย สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นการขัดต่อการแสวงหาประโยชนจ์ากงานอันมีลขิสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์หรือผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิ และอาศัยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน โดยอ้างว่าเป็นการทําซ้ําเพื่อประโยชน์ ของตนเอง จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยกําหนดให้การกระทําละเมิดลิขสิทธิ์ ในลักษณะดังกล่าวเป็นความผิดเฉพาะ และมีอัตราโทษเช่นเดียวกับการกระทําละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อการค้า นอกจากนี้ สมควรกําหนดข้อยกเว้นการละเมดิลิขสิทธิ์เพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ของคนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการได้ยิน คนพิการทางสติปัญญา และคนพิการประเภทอื่นที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาที่จะสามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ได้ ตามความจําเป็น จงึจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
หน้า ๑๕ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ “(๙) ทําซ้ํา หรือดัดแปลง เพื่อประโยชน์ของคนพิการที่ไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ อันเนื่องมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่น ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง โดยต้องไม่เป็นการกระทําเพื่อหากําไร ทั้งนี้ รูปแบบของการทําซ้ําหรือดัดแปลง ตามความจําเป็นของคนพิการและองค์กรผู้จัดทํารวมทั้งหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพื่อทําซ้ํา หรือดัดแปลงให้เปน็ไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา” มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๖๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๖๙/๑ ผู้ใดกระทําการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา ๒๘/๑ ต้องระวางโทษจําคุก ตั้งแต่หกเดือนถงึสี่ปี หรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนัทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
หน้า ๑๖ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปัจจุบันมีปัญหาการทําซ้ํา โดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้งเสียงและภาพจากภาพยนตร์ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ทั้งภาพยนตร์ไทย และภาพยนตร์ตา่งประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต แล้วนําไปทําซ้ําในสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นซีดี หรือแผ่นดีวีดี เป็นต้น ออกจําหน่าย สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นการขัดต่อการแสวงหาประโยชนจ์ากงานอันมีลขิสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์หรือผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิ และอาศัยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน โดยอ้างว่าเป็นการทําซ้ําเพื่อประโยชน์ ของตนเอง จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลขิสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยกําหนดให้การกระทําละเมิดลิขสิทธิ์ ในลักษณะดังกล่าวเป็นความผิดเฉพาะ และมีอัตราโทษเช่นเดียวกับการกระทําละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อการค้า นอกจากนี้ สมควรกําหนดข้อยกเว้นการละเมดิลิขสิทธิ์เพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ของคนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการได้ยิน คนพิการทางสติปัญญา และคนพิการประเภทอื่นที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาที่จะสามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ได้ ตามความจําเป็น จงึจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
เอกสารอ้างอิง
aun chi.2554.จริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต(ออนไลน์).แหล่งที่มา:http://aunaunchi.blogspot.com/.26 มกราคม 2559
Pornpan Aksonnit.2556.คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต(ออนไลน์).แหล่งที่มา:
http://linblog21.blogspot.com/.26มกราคม 2559
Chutimon
Wongchotiwanich.2556.
ผลกระทบในการใช้อินเตอร์เน็ตทางบวกและทางลบ(ออนไลน์).แหล่งที่มา:
http://chutimon28.blogspot.com/2013/02/blog-post.html.26 มกราคม 2559
นางสาว สุนิษา นาคสระน้อย บัญชี 1/3 เลขที่ 19
นางสาว ศิริรัตน์ ศรีขวัญม้า บํญชี 1/3 เลขที่ 26
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น